รับผลิตชุดตรวจสารเสพติด {OEM}
สร้างแบรนด์ของคุณเองด้วยมาตรฐานการผลิตระดับพรีเมี่ยมจาก Maxdouble2
รับผลิต ชุดตรวจ สารเสพติด ยาบ้า และ กัญชา
สร้างแบรนด์ของคุณเองด้วยมาตรฐานการผลิตระดับพรีเมี่ยมจาก Maxdouble2
ทางเรา Maxdouble2 รับผลิตชุดตรวจสารเสพติด
ตามแบบที่ลูกค้าต้องการ ภายใต้แบรนด์ที่คุณออกแบบเอง
(OEM Service)
ตามแบบที่ลูกค้าต้องการ ภายใต้แบรนด์ที่คุณออกแบบเอง
(OEM Service)
ด้วยการควบคุมคุณภาพอย่างเคร่งครัด มาตรฐานการผลิตระดับ
พรีเมี่ยม และ การบริการที่เป็นเลิศในราคาที่สมเหตุสมผล
ผลิตภัณฑ์ของเรามี
ชุดตรวจ สารเสพติด ยาบ้า และ กัญชา
พรีเมี่ยม และ การบริการที่เป็นเลิศในราคาที่สมเหตุสมผล
ผลิตภัณฑ์ของเรามี
ชุดตรวจ สารเสพติด ยาบ้า และ กัญชา
ชนิดจุ่ม และ ชนิดหยด
ซึ่ง ในกระบวนการผลิต ชุดตรวจ ของเรา ใช้สารเคมี ซึ่งนำเข้าจาก ประเทศสหรัฐอเมริกา (USA.)
การันตีในเรื่องของ ความแม่นยำของผลตรวจ
ด้วยความสามารถในการออกแบบและการพิมพ์แพคเกจที่เป็นเลิศ ทำให้Maxdouble2มีรูปแบบแพคเกจให้คุณเลือก
อย่างหลากหลาย ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างเต็มที่
Maxdouble2 ได้รับการไว้วางใจ จากลูกค้าแบรนด์ต่างๆมากมาย
สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติม
ติดต่อได้ที่ 090-971-7516
Line:::ByMylak2
ชนิดจุ่ม และ ชนิดหยด
อะไรคือ OEM
(Original Equipment Manufacturers)
OEM ย่อมาจาก Original Equipment Manufacturer หมายถึง การรับจ้างผลิตสินค้าให้กับแบรนด์ต่างๆ ตามแบบที่ลูกค้าก าหนด โดยใช้การผลิตของเรารวมถึงเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตด้วย มักจะเป็นโรงงานเปิดใหม่ๆ หรือโรงงานที่ไม่เน้นการสร้างแบรนด์ของตนเอง และโรงงานที่ไม่มีความช านาญในการออกแบบผลิตภัณฑ์
กำไรและเติบโตได้ แต่ส่วนใหญ่มักขาดหลักการบริหารจัดการอย่างมีระบบ มีเพียงการใช้ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาประจำวันให้ผ่านพ้นหรือสามารถแก้ไขปัญหาในแต่ละวันเท่านั้นโรงงานผู้ผลิตชิ้นส่วนโดยมากมักเป็นผู้ประกอบการในลักษณะคล้ายโรงกลึงในอดีต สำหรับใน
อุตสาหกรรมยานยนต์เรียกว่าผู้รับจ้างช่วงเพื่อผลิตชิ้นส่วนให้กับเจ้าของตราสินค้า หรือ
OEM ซี่งเป็นคำที่ย่อมาจาก Original Equipment Manufacturers แต่ก็มีไม่น้อยที่มีความสามารถเป็นผู้ผลิตสินค้าภายใต้ตราสินค้าของตนเองสำหรับเป็นสินค้าทดแทนหรืออุปกรณ์เสริม เช่น การผลิตอะไหล่ทดแทน การผลิตอุปกรณ์ตกแต่งหรือเพิ่มสมรรถนะ
และวางจำหน่ายสินค้าในตลาดด้วยตนเอง ผู้ประกอบการกลุ่มนี้มักจะมีตราสินค้าของตนเอง โดยในอุตสาหกรรมยานยนต์มักจะเรียกผู้ประกอบการกลุ่มนี้ว่าเป็นกลุ่ม REMREM ย่อมาจากค าว่า Replacement Equipment Manufacturers หรือเป็นผู้ประกอบการผลิต
สินค้าในกลุ่ม After market กล่าวคือจะท าการผลิตอะไหล่ทดแทนให้กับสินค้ามียี่ห้อที่ออกจ าหน่ายในตลาด
มาแล้วระยะหนึ่ง เมื่อเห็นว่าตลาดมีความต้องการมาก หรือมีราคาแพงเกินไป ก็จะถูกผู้ประกอบการที่มี
ศักยภาพในการลอกเลียนแบบ โดยท าการปรับแต่งรูปลักษณ์ให้มีความแตกต่างกันไปบ้าง แล้วท าการจ าหน่าย
ภายใต้เครื่องหมายการค้าหรือยี่ห้อของตนเอง
โรงงานทั้งที่มีลักษณะเป็น OEM และ REM ส่วนใหญ่ที่มีขนาดเล็ก มักจะประสบปัญหาในด้านการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการบริหารการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการสินค้าของลูกค้า และเหมาะสมกับอุตสาหกรรมที่องค์กรส่งมอบหรือจำหน่ายสินค้าให้ โดยที่ผู้ประกอบการในลักษณะ OEM ที่เป็นผู้ประกอบการไทย ควรมีระบบบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่น (ทั้งที่เป็นแบบโตโยต้า ฮอนด้า อีซูสุ หรือฮีโน่ เป็นต้น) เพื่อให้เป็นระบบการบริหารการผลิตลักษณะเดียวกันของผู้ประกอบการที่เป็นการร่วมลงทุนของโรงงานของนักลงทุนจาก
ญี่ปุ่น เพื่อให้เป็นที่ยอมรับ และเป็นที่ไว้วางใจของลูกค้าที่เป็นโรงงานของญี่ปุ่นประเภทของโรงงานที่มีลักษณะเป็น OEM มีหลากหลายประเภท แต่มีลักษณะทางธุรกิจที่คล้ายกันคือ
เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนที่มีขั้นตอนการผลิตไม่มากนัก บางรายอาจจะท าการประกอบเป็นลักษณะ Sub Component ที่มีการน าชิ้นส่วนมากกว่า 2 ชิ้นขึ้นไปมาประกอบกัน หรือท าการแปรรูปชิ้นส่วนที่ท าการผลิตให้
มีความพร้อมส าหรับการน าไปประกอบกับชิ้นส่วนอื่นๆ ของผู้ผลิตรายอื่น เพื่อให้เป็น Sub Componet อีกทอดหนึ่งโรงงานโออีเอ็มในประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้นกว่า 50,000 โรงงานที่รับจ้างผลิตทั่วประเทศไทย โดยมากกว่า 70-80% เป็นกลุ่มสิ่งทอ ชิ้นส่วนยานยนต์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ตลอดจนเครื่องจักรกลการเกษตร และ
อุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น
ความเป็นมาของ OEM ในประเทศไทย
โรงงานผู้ผลิตชิ้นส่วนในประเทศไทยส่วนใหญ่แล้วเป็นผู้ประกอบการที่เป็นวิสาหกิจขนาดกลางขนาดย่อม (SMEs) มีจุดก าเนิดในการก่อตั้งองค์กรที่แตกต่างกัน และมักมีทุนจดทะเบียนน้อย โดยผู้บริหารจะมีความชำนาญเฉพาะด้านและมีเงินทุนมากพอในระดับหนึ่งจนสามารถก่อตั้งกิจการได้ประสบผลสำเร็จ และมีช่องทางธุรกิจในระดับหนึ่งเพื่อที่จะจำหน่ายสินค้าให้มีรายได้จากการขายเพื่อให้กิจการมีกำไรและเติบโตได้ แต่ส่วนใหญ่มักขาดหลักการบริหารจัดการอย่างมีระบบ มีเพียงการใช้ประสบการณ์ในการแก้ปัญหาประจำวันให้ผ่านพ้นหรือสามารถแก้ไขปัญหาในแต่ละวันเท่านั้นโรงงานผู้ผลิตชิ้นส่วนโดยมากมักเป็นผู้ประกอบการในลักษณะคล้ายโรงกลึงในอดีต สำหรับใน
อุตสาหกรรมยานยนต์เรียกว่าผู้รับจ้างช่วงเพื่อผลิตชิ้นส่วนให้กับเจ้าของตราสินค้า หรือ
OEM ซี่งเป็นคำที่ย่อมาจาก Original Equipment Manufacturers แต่ก็มีไม่น้อยที่มีความสามารถเป็นผู้ผลิตสินค้าภายใต้ตราสินค้าของตนเองสำหรับเป็นสินค้าทดแทนหรืออุปกรณ์เสริม เช่น การผลิตอะไหล่ทดแทน การผลิตอุปกรณ์ตกแต่งหรือเพิ่มสมรรถนะ
และวางจำหน่ายสินค้าในตลาดด้วยตนเอง ผู้ประกอบการกลุ่มนี้มักจะมีตราสินค้าของตนเอง โดยในอุตสาหกรรมยานยนต์มักจะเรียกผู้ประกอบการกลุ่มนี้ว่าเป็นกลุ่ม REMREM ย่อมาจากค าว่า Replacement Equipment Manufacturers หรือเป็นผู้ประกอบการผลิต
สินค้าในกลุ่ม After market กล่าวคือจะท าการผลิตอะไหล่ทดแทนให้กับสินค้ามียี่ห้อที่ออกจ าหน่ายในตลาด
มาแล้วระยะหนึ่ง เมื่อเห็นว่าตลาดมีความต้องการมาก หรือมีราคาแพงเกินไป ก็จะถูกผู้ประกอบการที่มี
ศักยภาพในการลอกเลียนแบบ โดยท าการปรับแต่งรูปลักษณ์ให้มีความแตกต่างกันไปบ้าง แล้วท าการจ าหน่าย
ภายใต้เครื่องหมายการค้าหรือยี่ห้อของตนเอง
โรงงานทั้งที่มีลักษณะเป็น OEM และ REM ส่วนใหญ่ที่มีขนาดเล็ก มักจะประสบปัญหาในด้านการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการบริหารการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการสินค้าของลูกค้า และเหมาะสมกับอุตสาหกรรมที่องค์กรส่งมอบหรือจำหน่ายสินค้าให้ โดยที่ผู้ประกอบการในลักษณะ OEM ที่เป็นผู้ประกอบการไทย ควรมีระบบบริหารการผลิตแบบญี่ปุ่น (ทั้งที่เป็นแบบโตโยต้า ฮอนด้า อีซูสุ หรือฮีโน่ เป็นต้น) เพื่อให้เป็นระบบการบริหารการผลิตลักษณะเดียวกันของผู้ประกอบการที่เป็นการร่วมลงทุนของโรงงานของนักลงทุนจาก
ญี่ปุ่น เพื่อให้เป็นที่ยอมรับ และเป็นที่ไว้วางใจของลูกค้าที่เป็นโรงงานของญี่ปุ่นประเภทของโรงงานที่มีลักษณะเป็น OEM มีหลากหลายประเภท แต่มีลักษณะทางธุรกิจที่คล้ายกันคือ
เป็นผู้ผลิตชิ้นส่วนที่มีขั้นตอนการผลิตไม่มากนัก บางรายอาจจะท าการประกอบเป็นลักษณะ Sub Component ที่มีการน าชิ้นส่วนมากกว่า 2 ชิ้นขึ้นไปมาประกอบกัน หรือท าการแปรรูปชิ้นส่วนที่ท าการผลิตให้
มีความพร้อมส าหรับการน าไปประกอบกับชิ้นส่วนอื่นๆ ของผู้ผลิตรายอื่น เพื่อให้เป็น Sub Componet อีกทอดหนึ่งโรงงานโออีเอ็มในประเทศไทย ปัจจุบันมีทั้งสิ้นกว่า 50,000 โรงงานที่รับจ้างผลิตทั่วประเทศไทย โดยมากกว่า 70-80% เป็นกลุ่มสิ่งทอ ชิ้นส่วนยานยนต์ และเครื่องใช้ไฟฟ้า ตลอดจนเครื่องจักรกลการเกษตร และ
อุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น
ข้อดีของ OEM
1.ไม่ต้องลงทุนด้านการวิจัยและออกแบบผลิตภัณฑ์รวมถึงการ ออกแบบตราสินค้า
2.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการโฆษณาและประชาสัมพันธ์สินค้า
3.ลดความเสี่ยงทางด้านการหาตลาดเอง